ชื่อหนังสือ : กฎหมายเช็คกับประเพณีปฏิบัติของธนาคาร
สารบัญ
บทที่ 1 : ความหมายของตั๋วเงินตามกฎหมายไทย
(คำอธิบายประกอบ ป.พ.พ. มาตรา ๘๙๘,๙๐๘,๙๘๒,๙๘๗)
บทที่ 2 : เช็คที่มีรายการสมบูรณ์ตามกฎหมาย
(คำอธิบายประกอบ ป.พ.พ. มาตรา ๙๘๘)
บทที่ 3 : เช็คที่มีรายการบกพร่อง ทำให้สมบูรณ์ได้อย่างไร ?
(คำอธิบายประกอบ ป.พ.พ. มาตรา ๙๑๐,๙๘๙)
บทที่ 4 : กำหนดเวลายื่นเช็คเพื่อไม่ให้เสียสิทธิไล่เบี้ย
(คำอธิบายประกอบ ป.พ.พ. มาตรา ๙๙๐)
บทที่ 5 : สิทธิการปฏิเสธการจ่ายเงินตามเช็คของธนาคารผู้จ่าย
(คำอธิบายประกอบ ป.พ.พ. มาตรา ๙๙๑)
บทที่ 6 : ข้อกำหนดห้ามมิให้ธนาคารจ่ายเงินตามเช็ค
(คำอธิบายประกอบ ป.พ.พ. มาตรา ๙๙๒)
บทที่ 7 : Certified Cheque ที่ประเพณีธนาคารไม่มีแล้ว
แต่ตัวบทกฎหมายยังมี
(คำอธิบายประกอบ ป.พ.พ. มาตรา ๙๙๓)
บทที่ 8 : การออกเช็คขีดคร่อมทั่วไปกับเช็คขีดคร่อมเฉพาะ
(คำอธิบายประกอบ ป.พ.พ. มาตรา ๙๙๔)
บทที่ 9 : ใครมีอำนาจขีดคร่อมเช็ค และขีดคร่อมเช็คโดยวิธีใดได้บ้าง ?
(คำอธิบายประกอบ ป.พ.พ. มาตรา ๙๙๕)
บทที่ 10 : Cancelled Crossing Cheque
(คำอธิบายประกอบ ป.พ.พ. มาตรา ๙๙๖)
บทที่ 11 : เช็ค Double Crossing กับการจ่ายเงินตามเช็คขีดคร่อม
(คำอธิบายประกอบ ป.พ.พ. มาตรา ๙๙๗)
บทที่ 12 : ธนาคารจ่ายเงินตามเช็คขีดคร่อมโดยสุจริตและปราศจาก
ประมาทเลินเล่อ
(คำอธิบายประกอบ ป.พ.พ. มาตรา ๙๙๘)
บทที่ 13 : เช็คขีดคร่อม "ห้ามเปลี่ยนมือ" โอนสิทธิมิได้
(คำอธิบายประกอบ ป.พ.พ. มาตรา ๙๙๙)
บทที่ 14 : ความคุ้มครองธนาคารตัวแทนเรียกเก็บเงินเพื่อผู้เคยค้า
(คำอธิบายประกอบ ป.พ.พ. มาตรา ๑๐๐๐)
บทที่ 15 : ระเบียบประเพณีการคืนเช็คของธนาคารพาณิชย์
(สำหรับธนาคารสมาชิกสำนักหักบัญชี)
ภาคผนวก I : พระราชบัญญัติว่าด้วยความผิดอันเกิดจากการใช้เช็ค
พ.ศ. ๒๕๓๔
ภาคผนวก II : ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา ๙๘๙
บทบัญญัติอันว่าด้วยตั๋วแลกเงินที่ยกมาใช้บังคับในเรื่องเช็ค
(มาตรา ๙๑๐,๙๑๔ ถึง ๙๒๓,๙๒๕,๙๒๖,๙๓๘ ถึง ๙๔๐,
๙๔๕,๙๔๖,๙๕๙,๙๖๗,๙๗๑) |